วันจันทร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ผู้จัดทำ


อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
อาจารย์  เนตรชนก ธานีรัตน์

คณะผู้จัดทำ

1.นาย ณัฐพล สายนุ้ย ชื่อเล่น เลาะ เลขที่3 ชั้นม.6/3


2.นาย ฉัตรมงคล การัมย์ ชื่อเล่น เน็ต เลขที่13 ชั้นม.6/3

3. นาย นัฐพงค์ อินตัน ชื่อเล่น ลิฟ เลขที่14 ชั้นม.6/3

4.นาย วัชระ ชิดเอื้อ ชื่อเล่น โกบ เลขที่15ชั้นม.6/3


5.นางสาว โสรญา เล่สำ ชื่อเล่น นุ่น เลขที่ 33ชั้นม.6/3





ประโยชน์ของการศึกษาราชาศัพท์







ประโยชน์ของการศึกษาราชาศัพท์

    .ช่วยให้สามารถใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง  เหมาะสมกับชั้นของบุคคล  ทำให้ไม่มีปัญหาในการสื่อสาร
    ๒ได้เรียนรู้ถึงวัฒนธรรมของชาติ  โดยที่ราชาศัพท์เป็นวัฒนธรรมทางภาษา  ที่มีความประณีตนุ่มนวล  และน่าฟัง
    ๓. ทำให้รู้คำศัพท์มากขึ้น  ได้ชื่อว่าเป็นผู้รู้ภาษาไทยที่ดี  ผู้รู้มากย่อมทำให้เกิดความคล่องแคล่วชำนาญ
    ๔.ช่วยฝึกฝนอบรมจิตใจผู้ศึกษาให้ประณีตในการใช้ภาษาและผลทำให้เป็นคนมีนิสัยสุขุมรอบคอบ  ละเอียดลออ
    ๕.ช่วยในการศึกษาวรรณคดีให้เข้าใจได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น   เพราะวิชาวรรณคดีใช้ราชาศัพท์มาก

    ๖.ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพให้กับตนเอง  สามารถเข้าสมาคมกับผู้อื่นได้โดยไม่เคอะเขิน   ไม่เป็นที่เย้ยหยันของบุคคลอื่น  เพราะได้ศึกษาถ้อยคำที่ควรใช้กับบุคคลตามฐานะมาแล้ว
                             

คำราชาศัพท์ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง

คำราชาศัพท์ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง

ประเทศไทยปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และมีภาษาไทย เป็นภาษาประจำชาติที่มีเอกลักษณ์ มีระเบียบแบบแผนในการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับฐานะและระดับของบุคคล โดยเฉพาะภาษาที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ ซึ่งรวมถึงพระบรมวงศานุวงศ์ด้วยเช่นกัน คือการใช้ “คำราชาศัพท์” ที่มีความสำคัญยิ่ง แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมทางสังคมที่ประชาชนมีต่อพระมหากษัตริย์ ด้วยความจงรักภักดี การยกย่องเทิดทูน และความผูกพันระหว่างกษัตริย์กับประชาชน



วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557

หมวดเครื่องใช้

หมวดเครื่องใช้


หมวดเครือญาติ

หมวดเครือญาติ


หมวดร่างกาย

หมวดร่างกาย



หมวดต่างๆ




คำราชาศัพท์ หมายความว่า ศัพท์หลวง ศัพท์ราชการ และหมายรวมถึงคำสุภาพซึ่งนำมาใช้ให้ถูกต้องตามชั้นหรือฐานะของบุคคล บุคคลผู้ที่พูดต้องใช้ราชาศัพท์ด้วย
จำแนกเป็น 5 ประเภท คือ
1. พระมหากษัตริย์
2. พระบรมวงศานุวงศ์
3. พระสงฆ์
4. ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง
5. สุภาพชนทั่วไป

คำราชาศัพท์แบ่งได้  6 หมวด คือ
1. หมวดร่างกาย
2. หมวดเครือญาติ
3. หมวดเครื่องใช้
4. หมวดกริยา
5. หมวดสรรพนาม
6. หมวดคำที่ใช้กับพระสงฆ์